【タイニュース】バンコクの両替店で日本人男性が強盗未遂 罰則はどれぐらい?

数日前からタイで話題になっているニュースがあります。そのニュースというのがこちら。

https://m.youtube.com/watch?v=I602IbpqFAI#

【タイニュース】バンコクの両替店で日本人男性が強盗未遂 罰則はどれぐらい?

同じくタイにいる日本人として何とも恥ずかしいニュースですね。やはりお世話になっている国に少なくとも迷惑をかけてはなりません。

タイ語でのニュースでもこの事件は大きく取り上げられています。

https://mgronline.com/japan/detail/9610000112593

 

ちなみにタイ語で強盗は次のように言います。

ปล้น:プロン

ではもしタイでこのような犯罪で捕まるとどのような処置が下るのでしょうか。少し調べると以下のような情報がヒットしました。

โทษอาญากับการชดใช้ค่าเสียหาย เป็นคนละส่วนกันครับ

อัตราโทษ ความผิดฐานปล้นทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 340 วรรคหนึ่ง ต้องระวางจำคุกตั้งแต่สิบปีถึงสิบห้าปี และ ปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสามหมื่นบาท
( ถ้าเข้าลักษณะบทหนักที่กฎหมายบัญญัติไว้ด้วย ก็อาจมีอัตราโทษสูงขึ้น เช่น ถ้าการปล้นทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 340 วรรค 5 ผู้กระทำต้องระวางโทษประหารชีวิต )

ในส่วนค่าปรับ ผู้กระทำผิดต้องจ่ายให้รัฐ แต่ ในส่วนค่าเสียหาย  ผู้กระทำผิดต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้เสียหาย ตามที่เกิดขึ้นจริง ( ที่พิสูจน์ได้ ) 

เช่น  ผู้กระทำผิด 3 คน ร่วมกันปล้นทรัพย์ ไปจำนวน 8 ล้านบาท นอกจากจำนวนเงินที่ถูกปล้นไป ผู้เสียหายอาจพิสูจน์ ความเสียหายอื่นได้อีก เช่น อาคารสำนักงาน ทรัพย์สินในอาคาร เสียหายจากการบุกปล้น  มีคนได้รับบาดเจ็บมีค่ารักษาพยาบาล  มีความทุกข์ทรมานจากการบาดเจ็บซึ่งเป็นความเสียหายที่มิใช้ตัวเงินแต่สามารถคิดคำนวณเป็นจำนวนเงินได้ (ค่าเสียหายต่อจิตใจ)  ศาลอาจจะพิพากษา จำคุก ผู้กระทำความผิด (จำเลย) ทั้ง 3 คน คนละ 12 ปี และ ปรับคนละ 30,000 บาท และ ให้จำเลยทั้งร่วมกันชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้เสียหาย จำนวน 9 ล้านบาท

ในส่วนค่าปรับ คนละ 30,000 บาท จำเลยจะจ่ายเข้ารัฐเป็นรายได้ของแผ่นดิน แต่ในส่วนค่าเสียหาย จำเลยต้องจ่ายให้เแก่ผู้เสียหาย โดยไม่ได้หักค่าปรับออกไป หากจำเลยไม่ชำระแก่ผู้เสียหาย ให้ถือว่าผู้เสียหายเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา สามารถนำคำพิพากษาไปบังคับเอากับทรัพย์สินของจำเลยได้ โดยไม่ต้องฟ้องคดีแพ่งใหม่  ภายในระยะเวลาบังคับคดี 10 ปี ครับ

引用元:https://pantip.com/topic/35132689

情報ソース元がタイ人の掲示板のようなサイトですので全てを鵜呑みにしないほうが良いかもしれませんが、ここに書かれている情報によると、

 

もし三人の強盗犯が800万バーツの被害を及ばした場合、三人それぞれに「12年の禁固刑と罰金30,000(約11万円)バーツ以上」そして「被害者に900万バーツの返済」をするようにとなっています。

※また後日、より正確な情報ソースを探してきてリライトしておきたいと思います。

 

しかし今回のように外国人による強盗の場合はいくらか罰則も違ってくるかもしれません。

今後この事件がどういうふうに扱われるのか注目しておきたいと思います。

この記事が気に入ったら
いいね ! しよう

Twitter で

この記事が気に入ったら
フォローしよう

最新情報をお届けします

Twitterでフォローしよう

おすすめの記事